ผ้าซิ่นลายตีนป้านเล็ก
Item
Dublin Core
Title
ผ้าซิ่นลายตีนป้านเล็ก
VRA Core
Work Attributes
Title
1) ชื่อทั่วไป : ผ้าถุง
2) ชื่อภาษาไทย : ผ้าถุง
3) ชื่อภาษาถิ่น : ผ้านุ่ง, ผ้าซิ่น
4) ชื่อเรียกเฉพาะ : ผ้าซิ่นลายตีนป้านเล็ก
2) ชื่อภาษาไทย : ผ้าถุง
3) ชื่อภาษาถิ่น : ผ้านุ่ง, ผ้าซิ่น
4) ชื่อเรียกเฉพาะ : ผ้าซิ่นลายตีนป้านเล็ก
Agent
แม่อุ้ยจันทร์เที่ยง แก้วพวงทอง
Cultural Context
ชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ : ไทยอง
1)เรื่องราวการทอผ้าของชาวไทยอง : การทอผ้าของชาวลำพูนเชื้อสายยอง จากอดีตมีปรากฎในงานจิตรกรรมฝาผนังร่วมสมัย ที่วัดสะปุ๋งน้อย จังหวัดลำพูน วาดขึ้นเมื่องปีพ.ศ. 2557- ปัจจุบัน (วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ และแสวง มาละแซม, 2551, น.1)
1)เรื่องราวการทอผ้าของชาวไทยอง : การทอผ้าของชาวลำพูนเชื้อสายยอง จากอดีตมีปรากฎในงานจิตรกรรมฝาผนังร่วมสมัย ที่วัดสะปุ๋งน้อย จังหวัดลำพูน วาดขึ้นเมื่องปีพ.ศ. 2557- ปัจจุบัน (วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ และแสวง มาละแซม, 2551, น.1)
- @dataDate 2021-03-08 06:33:12
Date
พ.ศ. 2475
Description
1)คำอธิบายเกี่ยวกับผ้า
- การแต่งกายของชาวยอง หรือไทยอง สวมใส่ผ้าซิ่น เสื้อปั๊ด (เสื่อมีสาบเฉียงผูกเอว แขนยาวหรือแขนกระบอก) ผ้าสไบ ผ้าโพกศรีษะ บ้างสวมหมวก บ้างนุ่งผ้าขาวม้าคาดเอว
-ผ้าซิ่นของชาวไทยองเป็นผ้าซิ่นแบบไทลื้อที่เรียกว่า “ซิ่นตาลื้อ” เป็นซิ่นสองตะเข็บ มีโครงสร้างเป็นริ้วขวางลำตัวไม่สม่ำเสมอแต่เป็นแบบแผน มีซิ่นที่เป็นผ้าฝ้ายใช้สวมใส่ในชีวิตประจำวัน ส่วนในโอกาสพิเศษจะสวมซิ่นที่ทอจากไหมต่อตีซิ่นด้วยผ้าแพรจีนสีเขียว
-ผ้าซิ่นอีกชนิดหนึ่งคือ “ซิ่นโยน” คือซิ่นไหมทอเป็นริ้วขวางลำตัวอย่างสม่ำเสมอกันแบบผ้าซิ่นของไทยวน หรือไทโยนก แสดงถึงอิทธิพลของไทยวนที่มีต่อการแต่งกายของคนไทยอง (โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ม.ป.ป.)
2) การใช้ประโยชน์ของผ้า : ใช้นุ่งในชีวิตประจำวัน
- การแต่งกายของชาวยอง หรือไทยอง สวมใส่ผ้าซิ่น เสื้อปั๊ด (เสื่อมีสาบเฉียงผูกเอว แขนยาวหรือแขนกระบอก) ผ้าสไบ ผ้าโพกศรีษะ บ้างสวมหมวก บ้างนุ่งผ้าขาวม้าคาดเอว
-ผ้าซิ่นของชาวไทยองเป็นผ้าซิ่นแบบไทลื้อที่เรียกว่า “ซิ่นตาลื้อ” เป็นซิ่นสองตะเข็บ มีโครงสร้างเป็นริ้วขวางลำตัวไม่สม่ำเสมอแต่เป็นแบบแผน มีซิ่นที่เป็นผ้าฝ้ายใช้สวมใส่ในชีวิตประจำวัน ส่วนในโอกาสพิเศษจะสวมซิ่นที่ทอจากไหมต่อตีซิ่นด้วยผ้าแพรจีนสีเขียว
-ผ้าซิ่นอีกชนิดหนึ่งคือ “ซิ่นโยน” คือซิ่นไหมทอเป็นริ้วขวางลำตัวอย่างสม่ำเสมอกันแบบผ้าซิ่นของไทยวน หรือไทโยนก แสดงถึงอิทธิพลของไทยวนที่มีต่อการแต่งกายของคนไทยอง (โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ม.ป.ป.)
2) การใช้ประโยชน์ของผ้า : ใช้นุ่งในชีวิตประจำวัน
Inscription
ชาวไทยองอพยพเข้ามาอยู่ในล้านนามากกว่า 200 ปี มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมไทยวนจนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่ยังคงอัตลักษณ์ของตนไว้อยู่ คือ ภาษาพูด และที่สำคัญคือ ทักษะการทอผ้า แต่เดิมสตรีชาวไทยองยังทอผ้าไว้ใช้เองอยู่ เช่น ผ้าหลบ ผ้าห่ม และตุงไว้ถวายวัด แต่ไม่ได้ทอตกแต่งลวดลายมากเหมือนชาวยองที่เมืองยองในสหภาพพม่า (โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ม.ป.ป.)
Location
พิพิธภัณฑ์ผ้าทอโบราณเฮือนยอง วัดต้นแก้ว
Material
ผ้าไหม
Measurements
กว้าง 26 นิ้ว ยาว 36 นิ้ว
Relation
1)ลายหลัก : ลายตีนป้านเล็ก
2) ลายประกอบ : ไม่มี
3) ลักษณะการใช้งาน : ใช้เป็นผ้านุ่งคู่กับเสื้อปั๊ด
4) ประเภทลายผ้า :
-ลายโบราณ
-ลายผ้าเฉพาะของกลุ่มชาติพันธุ์
5) การสื่อความหมายของผ้า (ลวดลายผ้า เช่น ลายพรรณพฤกษา, ลายสัตว์ เป็นต้น) : ไม่ระบุ
6) ตำแหน่งบนผืนผ้า (ตีนซิ่น ตัวซิ่น หัวซิ่น)
- ตีนซิ่น ปรากฎลายป้านเล็ก
7) ความเชื่อของลายผ้าทอ : ไม่ระบุ
1)การออกแบบลวดลาย : ไม่ปรากฎ
2) ลายประกอบ : ไม่มี
3) ลักษณะการใช้งาน : ใช้เป็นผ้านุ่งคู่กับเสื้อปั๊ด
4) ประเภทลายผ้า :
-ลายโบราณ
-ลายผ้าเฉพาะของกลุ่มชาติพันธุ์
5) การสื่อความหมายของผ้า (ลวดลายผ้า เช่น ลายพรรณพฤกษา, ลายสัตว์ เป็นต้น) : ไม่ระบุ
6) ตำแหน่งบนผืนผ้า (ตีนซิ่น ตัวซิ่น หัวซิ่น)
- ตีนซิ่น ปรากฎลายป้านเล็ก
7) ความเชื่อของลายผ้าทอ : ไม่ระบุ
1)การออกแบบลวดลาย : ไม่ปรากฎ
Source
1) สถานที่พบเห็นลายผ้า : ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูน
2) สถานที่ผลิตลายผ้า : จ.ลำพูน
3) สถานที่จำหน่ายลายผ้า : จ.ลำพูน
2) สถานที่ผลิตลายผ้า : จ.ลำพูน
3) สถานที่จำหน่ายลายผ้า : จ.ลำพูน
Style Period
1)พ.ศ. : พ.ศ. 2475
2)ยุคสมัยของการทอ : หลังสมัยพ.ศ. 2475
3) อายุของผ้า : 88 ปี
2)ยุคสมัยของการทอ : หลังสมัยพ.ศ. 2475
3) อายุของผ้า : 88 ปี
Subject
-ผ้าซิ่นลายตีนป้านเล็ก
-ผ้าทอ, ผ้านุ่ง, ผ้าถุง, ผ้าซิ่น
-ลายตีนป้านเล็ก
-ลายโบราณ
-ไทยอง, ชาวยอง
-ผ้าทอ, ผ้านุ่ง, ผ้าถุง, ผ้าซิ่น
-ลายตีนป้านเล็ก
-ลายโบราณ
-ไทยอง, ชาวยอง
Technique
1)เทคนิคการทอ : สตรีชาวยอง มีการทอผ้าฝ้ายด้วยมือ และมีการออกแบบลวดลายเป็นลายพื้นฐานเพื่อใช้กันเองในครัวเรือน ส่วนในคุ้มเจ้าจะมีการทอผ้าไหมแต่ก็เป็นลวดลายพื้นฐาน (ทักษิณา พิพิธกุล, 2559)
2) สีของผ้า : สีเทาอมเขียว สีดำ สีน้ำตาล
3)วัสดุตกแต่งผ้า : ไม่มี
4)การย้อมสีฝ้าย : ไม่มี
5) อุปกรณ์ในการทอผ้า : กี่
6) ขั้นตอนการทอ : ไม่ระบุ
7) โครงสร้างของผืนผ้า :
- โครงสร้างของผืนผ้าประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ (1) ส่วนเอว หรือหัวซิ่น ส่วนหัวซิ่นส่วนมากจะมี 2 ช่วง คือสีแดงและสีขาว (2) ส่วนกลาง หรือตัวซิ่น ซึ่งเรียกว่า “ซิ่นกลาง” นั้นจะเป็นลายขวางสลับสี ช่วงลายขวางจะมีขนาดเท่ากันโดยตลอด ลักษณะของซิ่นลายขวางนี้ เรียกชื่อตามลักษณะลวดลายว่า “ซิ่นตา” หรือ “ซิ่นก่าน” หมายถึงลักษณะลายริ้วเป็นตาๆ สลับสีคั่นกันมีทั้งเป็นผ้าฝ้ายและผ้าไหม เย็บตะเข็บเดียว ลวดลายขวางจึงเกิดจากเส้นยืนในลายขวางนั้น บางผืนนิยมใช้ด้าย 2 สีปั่นเข้าด้วยกันเป็นเส้นยืนคั่น (แบบที่เรียกว่า “ปั่นไก” หรือ “ปั่นหางกระรอก” ทำให้เกิดลายริ้วสลับสีงดงาม และ(3) ส่วนตีนซิ่น (ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และแพทรีเซีย แน่นหนา, 2534)
2) สีของผ้า : สีเทาอมเขียว สีดำ สีน้ำตาล
3)วัสดุตกแต่งผ้า : ไม่มี
4)การย้อมสีฝ้าย : ไม่มี
5) อุปกรณ์ในการทอผ้า : กี่
6) ขั้นตอนการทอ : ไม่ระบุ
7) โครงสร้างของผืนผ้า :
- โครงสร้างของผืนผ้าประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ (1) ส่วนเอว หรือหัวซิ่น ส่วนหัวซิ่นส่วนมากจะมี 2 ช่วง คือสีแดงและสีขาว (2) ส่วนกลาง หรือตัวซิ่น ซึ่งเรียกว่า “ซิ่นกลาง” นั้นจะเป็นลายขวางสลับสี ช่วงลายขวางจะมีขนาดเท่ากันโดยตลอด ลักษณะของซิ่นลายขวางนี้ เรียกชื่อตามลักษณะลวดลายว่า “ซิ่นตา” หรือ “ซิ่นก่าน” หมายถึงลักษณะลายริ้วเป็นตาๆ สลับสีคั่นกันมีทั้งเป็นผ้าฝ้ายและผ้าไหม เย็บตะเข็บเดียว ลวดลายขวางจึงเกิดจากเส้นยืนในลายขวางนั้น บางผืนนิยมใช้ด้าย 2 สีปั่นเข้าด้วยกันเป็นเส้นยืนคั่น (แบบที่เรียกว่า “ปั่นไก” หรือ “ปั่นหางกระรอก” ทำให้เกิดลายริ้วสลับสีงดงาม และ(3) ส่วนตีนซิ่น (ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และแพทรีเซีย แน่นหนา, 2534)
Worktype
งานหัตถกรรมพื้นบ้าน ประเภทเครื่องทอ
Collection
Citation
“ผ้าซิ่นลายตีนป้านเล็ก,” ผ้าโบราณ, accessed April 19, 2025, https://angkaew.com/virtual_museum/omeka/items/show/15.